Mind Mapping
หน่วย:หนูทำได้
ภูมิหลังของปัญหา:
นักเรียนยังไม่เข้าใจในเหตุผลว่า ทำไมต้องไปโรงเรียน ในเมื่ออยู่ที่บ้านมีผู้ปกครองช่วยเหลือดูแล
เมื่อถึงเวลาที่ต้องเข้าโรงเรียน นักเรียนกลัวพลัดพรากจากผู้ปกครองนานๆ ไม่ไว้วางใจต่อบุคคลอื่นในโรงเรียน นักเรียนอยู่ในช่วงปรับตัวกับสถานที่
เพื่อน และการเรียนรู้ที่จะช่วยเหลือตัวเอง เช่น การอาบน้ำ สระผม การแต่งตัว
การพับผ้าเก็บกระเป๋า การกินข้าวเอง ฯลฯ นักเรียนจึงเกิดความกังวนใจแสดงออกทางอารมณ์และพฤติกรรมหลายๆ อย่างเช่น การร้องไห้ งอแง สร้างเงื่อนไขกับผู้ปกครอง
เป็นต้น ทั้งหมดที่กล่าวมาเป็นพัฒนาการตามช่วงวัยของนักเรียน
ดังนั้น จึงเป็นสิ่งสำคัญที่โรงเรียน และครูจะต้องออกแบบการเรียนรู้ให้กับนักเรียนเพื่อให้นักเรียนเกิดความไว้วางใจต่อสถานที่
เพื่อน ครู บุคคลอื่นๆ
ในโรงเรียน รวมไปถึงการดูแลตัวเองในชีวิตประจำวัน การอยู่กับผู้อื่น การมีจิตใจที่ดีงาม
แสดงออกทางอารมณ์ที่เหมาะสม
เรียนรู้อย่างมีความสุขพร้อมที่จะออกสู่สังคมข้างนอกต่อไป ครูจึงต้องออกแบบหน่วยการเรียนรู้ที่เหมาะกับวัย ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง
5 (การได้ยิน การมองเห็น การลิ้มรส การได้กลิ่น
และการสัมผัสเคลื่อนไหว) และกิจกรรมที่น่าสนใจสำหรับนักเรียนในวัยนี้ นั้นก็คือใช้สิ่งมีชีวิตต่างๆ ที่อยู่รอบตัวของนักเรียนเป็นสื่อได้แก่ สัตว์ชนิดต่างๆ
เพราะสัตว์กับคนจะเชื่อมโยงและเทียบเคียงกันได้ง่าย
เป้าหมาย(Understanding Goal):นักเรียนสามารถปรับตัวเข้ากับวิถีของโรงเรียนและไว้วางใจต่อเพื่อน
ครู สถานที่ บุคคลอื่นๆที่อยู่ในโรงเรียน
รวมทั้งช่วยเหลือตัวเองในกิจวัตรประจำวันเช่น การอาบน้ำ สระผม การแต่งตัว
การพับผ้าเก็บกระเป๋า การกินข้าวเอง การอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข
อีกทั้งเข้าใจความสัมพันธ์ของตนเองกับสิ่งต่างๆ รอบตัว
ปฏิทินการเรียนรู้
ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ (Problem Based Learning) (PBL)
หน่วย: “ หนูทำได้ ” ระดับชั้นอนุบาล 1 (Quarter 1) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
Week
|
lnput
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
16– 20
พ.ค.59
|
โจทย์
: สร้างฉันทะในการเรียนรู้ /
ปรับตัว
Key Questions
- นักเรียนเห็นอะไร ?
-
นักเรียนรู้สึกและได้เรียนรู้อะไร ?
เครื่องมือคิด
Brainstorms
: ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้พบเห็นจากการเดินสำรวจและฟังนิทาน
Wall Thinking
: ใบงานวาดภาพวันแรกที่หนูมาเรียน
Show
and Share : นำเสนอชิ้นงานใบงานวาดภาพโรงเรียนของเรา/ประดิษฐ์คนจากไม้ไอติม/ประดิษฐ์ตุ๊กตาฝาขวด
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บรรยากาศในบริเวณโรงเรียน
-นิทานเรื่อง“กุ๋งกิ๋งไปโรงเรียน/ใครคือคนเก่ง/หนูปูตื่นสาย”
- เพลง “ลองทายดูซิ/เพลง สวัสดี”
|
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจสิ่งต่างๆรอบบริเวณโรงเรียน
- ครูทบทวนวิถี
- ครูเล่านิทาน เรื่อง “หนูปูตื่นสาย/กุ๋งกิ๋งไปโรงเรียน/ใครคือคนเก่ง”
- นักเรียนวาดภาพวันแรกที่หนูมาเรียน
- ปั้นดินน้ำมันโรงเรียนของเรา
- ประดิษฐ์คนจากไม้ไอติม
- ประดิษฐ์พวงกุลแจจากฝาขวด
|
ภาระงาน
- การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่พบเห็นจากการเดินสำรวจรอบๆ
บริเวณโรงเรียน
- การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานเรื่อง “หนูปูตื่นสาย/กุ๋งกิ๋งไปโรงเรียน/ใครคือคนเก่ง”
ชิ้นงาน
- ใบงานวาดภาพวันแรกที่หนูมาเรียน
- ปั้นดินน้ำมันโรงเรียนของเรา
- ประดิษฐ์คนจากไม้ไอติม
- ประดิษฐ์ตุ๊กตาฝาขวด
|
ความรู้ :
รู้และเข้าใจเกี่ยวกับข้อตกลงของห้องเรียนและสามารถทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
-
สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ
ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
Week
|
lnput
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
2
23– 27
พ.ค.59
|
โจทย์
: สร้างฉันทะในการเรียนรู้ / ปรับตัว
Key Questions :
-
นักเรียนเห็นอะไร ?
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไร จากการสำรวจ?
เครื่องมือคิด
Brainstorms
: ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้พบเห็นจากการเดินสำรวจและฟังนิทาน
เรื่อง”หมีอ้วนจอมเกเร”
Wall Thinking
: เขียน Web
โรงเรียนของเรา/ใบงานวาดภาพตามจินตนาการ
Show and Share : นำเสนอชิ้นงานโมบายคน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บรรยากาศในบริเวณโรงเรียน
- นิทานเรื่อง”/หมีอ้วนจอมเกเร”
- เพลง “โรงเรียนน่าอยู่ / เพลง ลองทายดูซิ/ เพลงสวัสดี”
-เกมทำท่าทางตามคำสั่ง
|
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจสิ่งมีชีวิตรอบบริเวณโรงเรียน
- ครูทบทวนวิถี
- ครูเล่านิทานเรื่อง”หมีอ้วนจอมเกเร”
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ”เรามาโรงเรียนทำไม”
- ปั้นดินน้ำมันสัตว์ต่างๆ
- นักเรียนเขียน Web เรามาโรงเรียนทำไม
- ประดิษฐ์โมบายคน
- เพลง “โรงเรียนน่าอยู่/เพลง แมลงมุม”
- ทบทวนการบ้าน
|
ภาระงาน
- การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปฏิบัติตามวิถีของโรงเรียน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเพลงและนิทานที่ได้ฟัง
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ”เรามาโรงเรียนทำไม”
ชิ้นงาน
- ใบงานเขียน Web โรงเรียนของเรา
- ปั้นดินน้ำมัน“สัตว์ต่างๆ”
- ประดิษฐ์โมบายคน
|
ความรู้ : รู้และเข้าใจเกี่ยวกับวิถีของโรงเรียน สามารถปรับตัว ร่วมกิจกรรมกับผู้อื่นได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
-
สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ
ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
Week
|
lnput
|
Process
|
Output
|
Outcome
| ||||
3
30 พ.ค. – 3 มิ.ย.59
|
|
|
|
|
Week
|
lnput
|
Process
|
Output
|
Outcome
| |||||
4
|
|
|
|
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
- สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
Week
|
lnput
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
5
13 –17
มิ.ย. 59 |
โจทย์
: บทบาท / หน้าที่ของตนเอง
Key Questions : นักเรียนคิดว่าคนแต่ละวัยทำหน้าที่เหมือนหรือต่างกันอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms
: นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ของตนเอง และผู้อื่น
Wall Thinking : เขียน
Web บทบาทหน้าที่นักเรียน/การพับสีแล้วตกแต่งตามจินตนาการ
Show and Share
: นำเสนอชิ้นงานประดิษฐ์ “คนตะลุง”(สนุกกับตะเกียบ)/ประดิษฐ์นางฟ้าจากซ้อนไอศกรีม
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บรรยากาศในบริเวณโรงเรียน
-นิทานเรื่อง”บุคคลและอาชีพต่างๆ/ชายหญิงเท่าเทียมกัน”
เพลง “สวัสดี /
เพลงเล่นแล้วเก็บ/ เพลง ตาดูหูฟัง” |
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ของตัวเอง
- ครูเล่านิทานเกี่ยวกับบุคคลและอาชีพต่างๆ
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนเกี่ยวกับบทบาท
หน้าที่ของตนเอง และผู้อื่น
- นักเรียนเขียน Web บทบาทหน้าที่นักเรียน”
- ประดิษฐ์
“คนตะลุง”(สนุกกับตะเกียบ)
- ประดิษฐ์นางฟ้าจากซ้อนไอศกรีม
-การพับสีแล้วตกแต่งตามจินตนาการ
- ทบทวนการบ้าน |
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ของตนเอง
และผู้อื่น
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเพลงและนิทานที่ได้ฟัง
ชิ้นงาน
- ใบงานเขียน Web บทบาทหน้าที่นักเรียน”
- ประดิษฐ์
“คนตะลุง”(สนุกกับตะเกียบ)
- ประดิษฐ์นางฟ้าจากซ้อนไอศกรีม
-การพับสีแล้วตกแต่งตามจินตนาการ
- ประดิษฐ์หุ่นจากล่อง |
ความรู้ : เข้าใจเกี่ยวกับบทบาท
หน้าที่ของตัวเองและผู้อื่นได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
- สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
Week
|
lnput
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
6
20 – 24
มิ.ย. 59 |
โจทย์
: โครงสร้าง (อวัยวะ)
ของร่างกาย
Key Questions
: ทำไมคนต้องมีแขนทั้งสองข้าง ถ้ามีข้างเดียวจะเป็นอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms : นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างของคน, สัตว์
และพืช / หน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกาย
Show and Share : นำเสนอชิ้นงานประดิษฐ์โมบาย “น่ารัก”
Wall Thinking :
เขียน Web โครงสร้าง
(อวัยวะ) ของร่างกาย/ ใบงานระบายสีภาพรูปร่าง
ลักษณะของคน พร้อมเขียนคำศัพท์ประกอบชื่ออวัยวะ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- เกมแสดงท่าทางต่างๆจากบัตรคำ
-นิทานเรื่อง”ความลับของหนู(ตัวเด็ก)/ดูแลตัวเรา”
-เพลง “ร่างกาย /
เพลงบริหารร่างกาย / เพลง ตา หู จมูก” |
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจสิ่งมีชีวิตรอบบริเวณโรงเรียน
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับรูปร่างลักษณะของคน โดยครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
“ร่างกายของเราประกอบด้วยอวัยวะส่วนใดบ้าง?”
- ครูเล่านิทาน”ความลับของหนู(ตัวเด็ก)”
- ครูและนักเรียนร่วมกันเล่นเกมแสดงท่าทางต่างๆจากบัตรคำ
- พับกระดาษเป็นใบหน้าคนแล้วต่อเติมโครงสร้าง (อวัยวะ) ของร่างกาย
-
นักเรียนเขียน Web โครงสร้าง (อวัยวะ) ของร่างกาย
-ใบงานระบายสีภาพรูปร่าง ลักษณะของคน พร้อมเขียนคำศัพท์ประกอบชื่ออวัยวะ
- ใบงานภาพวาด ”ตัวเอง”
-ประดิษฐ์หุ่นจากกล่องนม
-ประดิษฐ์โมบาย “น่ารัก” |
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยว
กับเพลงและนิทานที่ได้ฟัง
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างของคน, สัตว์ และพืช / หน้าที่ของอวัยวะต่างๆ
ชิ้นงาน
- พับกระดาษเป็นใบหน้าคนแล้วต่อเติมโครงสร้าง (อวัยวะ) ของร่างกาย
-ใบงานเขียน
Web โครงสร้าง
(อวัยวะ) ของร่างกาย
-ใบงานระบายสีภาพรูปร่าง ลักษณะของคน พร้อมเขียนคำศัพท์ประกอบชื่ออวัยวะ
- ใบงานภาพวาด ”ตัวเอง”
-ประดิษฐ์โมบาย “น่ารัก” |
ความรู้ : เข้าใจโครงสร้าง
(อวัยวะ) ของร่างกาย
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
- สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
Week
|
lnput
|
Process
|
Output
|
Outcome
| ||||
7
|
|
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนา
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปร่าง ลักษณะ และหน้าที่ของอวัยวะของคนและสัตว์ต่างๆ
- นักเรียนความคิดเห็นเกี่ยวกับหน้าที่ของอวัยวะแต่ละส่วนในร่างกาย
ชิ้นงาน
|
ความรู้ :บอกลักษณะ
หน้าที่และประโยชน์ของอวัยวะส่วนต่างๆ ภายในร่างกายได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
- สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
Week
|
lnput
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
8
4 – 8
ก.ค.
59
|
โจทย์ : การเจริญเติบโตของร่างกาย
Key Questions : คนกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
มีการเจริญเติบโตที่เหมือนหรือต่างกันอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms : ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของคนกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
Show
and Share : นำเสนอชิ้นงานประดิษฐ์ดอกไม้จากถุงพลาสติก
Wall Thinking
: เขียน Web อาหารและสารอาหารที่ร่างกายต้องการ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
บรรยากาศในบริเวณโรงเรียน
-นิทาน“เรื่องท้องกับอวัยวะต่างๆ/เรื่องอาหารที่เรากินไปไหนนะ/ร่างกายทุกส่วนล่วนสำคัญ/กุ๋งกิ๋งไปตลาด”
- เพลง แปลงร่าง / เพลงจับขา
-เกมทรงตัง
|
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่านิทานเรื่อง“ผีเสื้อแสนสวย/เรื่องอาหารที่เรากินไปไหนนะ”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับนิทานเรื่อง“อาหารที่เรากินไปไหนนะที่ฟัง”
-
ประกอบอาหาร “ข้าวผัดหมูกับไข่ม่วน”
-ประดิษฐ์ดอกไม้จากถุงพลาสติก
- ใบงานเขียน Web อาหารและสารอาหารที่ร่างกายต้องการ
- ใบงานวาดภาพ “อาหารที่ชอบ”
-
ทบทวนการบ้าน
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของคนกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
ชิ้นงาน
- ประกอบอาหาร
“ข้าวผัดหมูกับไข่ม่วน”
-ประดิษฐ์ดอกไม้จากถุงพลาสติก
- ใบงานเขียน Web อาหารและสารอาหารที่ร่างกายต้องการ
- ใบงานวาดภาพ “อาหารที่ชอบ”
|
ความรู้ :
การเจริญเติบโตของคนกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
- สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ
ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
Week
|
lnput
|
Process
|
Output
|
Outcome
| |||||
|
|
|
|
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
- สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
Week
|
lnput
|
Process
|
Output
|
Outcome
| ||||
|
|
|
|
ความรู้ : สามารถพูดอธิบายความเชื่อมโยง/ความสัมพันธ์ของคนและสิ่งมีชีวิต
เช่น คน,พืช,สัตว์
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
- สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
Week
|
lnput
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
11
25 – 29
ก.ค.
59
|
โจทย์ : สรุปองค์ความรู้
Key Questions
-
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับ หน่วย “หนูทำได้”
?
- นักเรียนจะเผยแพร่ความรู้เรื่องเกี่ยวกับหน่วย “หนูทำได้”
ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร ?
เครื่องมือคิด
Brainstorms : ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
หน่วย “ หนูทำได้”
Wall Thinking
: เขียน web สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ สิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ หน่วย “หนูทำได้”
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน/การแสดงละคร/เต้นประกอบเพลง
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
บรรยากาศในบริเวณโรงเรียน
-นิทานเรื่อง“หนูออมจอมขยัน/เจ้ายักษ์ปากเหม็น/ ต๋อมแต๋มเป็นไข้หวัด”
-เพลง ร่างกาย
-เกมม้าวิ่ง
|
-
ครูพานักเรียนเดินสำรวจสิ่งมีชีวิตรอบบริเวณโรงเรียน
- ครูทบทวนวิถี
- ครูเล่านิทานเรื่อง “หนูออมจอมขยัน”
-
นักเรียนเขียน web
สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
ประดิษฐ์ม้าก้านกล้วย
-การแสดงเต้นประเพลง
“ร่างกายของฉัน”
- ใบงานวาดภาพตามจินตนาการ
-
นักเรียนนำเสนอชิ้นที่ประทับใจมากที่สุดและและอยากถ่ายทอดความเข้าใจสู่ผู้อื่นให้เข้าใจได้
- การแสดงละคร/เต้นประกอบเพลง
|
ภาระงาน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยว
กับเกี่ยวกับตัวเรา
-
การตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับหน่วย
“หนูทำได้ ” ให้ผู้อื่นเข้าใจ
ชิ้นงาน
-ใบงานเขียน web สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
-ประดิษฐ์ม้าก้านกล้วย
- ใบงานวาดภาพตามจินตนาการ
- นักเรียนนำเสนอชิ้นที่ประทับใจมากที่สุดและและอยากถ่ายทอดความเข้าใจสู่ผู้อื่นให้เข้าใจได้
-การแสดงละคร/เต้นประกอบเพลง
|
ความรู้ : สามารถปรับตัวเข้ากับวิถีและไว้วางใจต่อเพื่อน ครู
สถานที่ และบุคคลที่อยู่ในโรงเรียน รวมทั้งมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้านที่สามารถช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวันได้ทั้งการเล่น การแต่งกาย การกิน การนอน การทำงาน ฯลฯเข้าใจความสัมพันธ์ของตนเองกับสิ่งต่างๆ ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
- สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ
ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์มาตรฐานการเรียนรู้กับพัฒนาการ
หน่วย “ หนูทำได้” ระดับชั้นอนุบาล 1 ประจำ Quarter 1
ปีการศึกษา 1/2559
สาระการเรียนรู้
|
พัฒนาการ
|
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
|
สาระ
1. การสร้างฉันทะการเรียนรู้/ปรับตัว
2. การสร้างฉันทะการเรียนรู้/ปรับตัวเข้าใจเกี่ยวกับข้อตกลงของห้องเรียนและสามารถทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้
3. การเรียนรู้ปรับตัวการปฎิบัติตัวในห้องเรียน
4. การปฏิบัติตนต่อสถานที่ต่างๆ เช่น หน้าเสาธง โรงอาหาร ฯลฯ
5. บทบาท / หน้าที่ของตนเอง
6. โครงสร้าง (อวัยวะ) ของร่างกาย
7. หน้าที่ของส่วนต่างๆ ของร่างกาย (อวัยวะ)
8. การเจริญเติบโตของร่างกาย
9.การดูแลร่างกาย
10. ความสัมพันธ์ของคนและสิ่งมีชีวิต เช่น คน,พืช,สัตว์
11. สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
|
ด้านร่างกาย
ผู้เรียนมีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่-เล็กในการเคลื่อนไหวร่างกาย ประดิษฐ์ชิ้นงาน ได้แก่
ขีดเขียน วาดภาพบุคคล, ระบายสีไม้, สีเทียน, เล่นกับสีน้ำ เช่น เป่าสี พับสี, ปั้นดินน้ำมัน, ฉีก- ปะ กระดาษเป็นรูปครอบครัวและสิ่งมีชีวิตอื่น, ต่อเติมภาพตามจินตนาการ, ประดิษฐ์สิ่งมีชีวิตจากเศษวัสดุต่างๆ, ประกอบอาหารที่มีส่วนผสมของน้ำ, เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย การแสดงบทบาทสมมติ/จินตนาการผ่านท่าทางและสีหน้า
|
พัฒนาการทางด้านร่างกาย
มาตรฐานที่ 1 ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่ดี และรู้จักรักษาความปลอดภัย
มาตรฐานที่ 2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 เคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคล่วและทรงตัวได้
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เล่นและออกกำลังกาย
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 .ใช้มือได้อย่างคล่องแล้วและประสานสัมพันธ์กัน
|
ด้านอารมณ์และจิตใจ
ผู้เรียนมีวินัย ความรับผิดชอบ ปฏิบัติตนตามข้อตกลงร่วมกัน ทำงานจนสำเร็จ และแสดงความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง ได้แก่ การShow and Shareผลงานในแต่ละสัปดาห์ การทำใบงานให้เสร็จตามเวลาที่กำหนด การเก็บของใช้เข้าที่หลังจากทำใบงานหรือประดิษฐ์ชิ้นงาน
- ผู้เรียนช่วยเหลืองานเต็มความสามารถด้วยความ
เต็มใจ เช่น การจัดเก็บอุปกรณ์ เก็บกวาดห้องเรียน อาสาแจกใบงาน/อุปกรณ์ให้เพื่อน
- ผู้เรียนมีมารยาทและปฏิบัติตามวัฒนธรรมไทย ได้แก่ มีมารยาทในการพูดเมื่อต้องการพูดจะยกมือก่อนพูดทุกครั้ง
สนใจฟังเมื่อมีผู้อื่นพูด มีมารยาทในการรับประทานอาหาร ไหว้ขอบคุณเมื่อรับสิ่งของจากผู้อื่นทุกครั้ง
- ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดด้วยการนำเศษวัสดุจากการประดิษฐ์ชิ้นงานทิ้งลงถังขยะอย่างถูกที่
- ผู้เรียนมีความสนใจงานด้านศิลปะโดยเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะอย่างมีความสุข
ได้แก่ การสร้างงานศิลปะด้วยความเต็มใจ การแสดงความชื่นชมและภาคภูมิใจในผลงานศิลปะ
|
พัฒนาการทางด้านอารมณ์ จิตใจ
มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดี และมีความสุข
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 แสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสมกับวัยและสถานการณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 มีความเห็นอก
เห็นใจผู้อื่น
มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ
ดนตรี และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 สนใจและมีความสุขกับศิลปะ
ดนตรี และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 แสดงออกทางด้านศิลปะ
ดนตรี และการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 มีความรับผิดชอบ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ซื่อสัตย์สุจริตและรู้ถูกรู้ผิด
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 มีความเมตตากรุณา
มีน้ำใจและ
ช่วยเหลือแบ่งปัน
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ประหยัด อดออม
และพอเพียง
|
|
ด้านสังคม
- ผู้เรียนสนใจเข้าร่วมกิจกรรม เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- ผู้เรียนยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- ผู้เรียนมีความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
- ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อครู เพื่อนและผู้อื่น
|
พัฒนาการด้านสังคม
มาตรฐานที่ 6 มีทักษะในการดำเนินชีวิต
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 มีวินัยในตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ระหวังภัยจากคนแปลกหน้าและสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตราย
มาตรฐานที่ที่ 7 รักธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็นไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 มีสัมมาคารวะและมารยาทตามวัฒนธรรมไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 รักความเป็นไทย
มาตรฐานที่ 8 อยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล
ตัวบ่งชี้ที่ 8.2 มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่ 8.3
ปฏิบัติตนเบื้องในการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
|
|
ด้านสติปัญญา
- ผู้เรียนสามารถเรียงลำดับเหตุการณ์จากการฟังนิทานหรือเรื่องราวได้
- ผู้เรียนรู้จักตั้งคำถามเพื่อหาเหตุผลและมีความสนใจใฝ่รู้
- ผู้เรียนมีทักษะในการสื่อสาร สามารถถ่ายทอดเรื่องราว
เกี่ยวกับครอบครัว
และสิ่งมีชีวิตอื่นจากประสบการณ์ที่ได้พบเห็นให้ผู้อื่นเข้าใจได้
- ผู้เรียนสนทนาโต้ตอบเป็นเรื่องราวกับผู้อื่นได้
- ผู้เรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเอง
- ผู้เรียนสามารถนับ ตัก ตวงเครื่องปรุงอย่างง่ายๆในการประกอบอาหารได้
|
พัฒนาการด้านสติปัญญา
มาตรฐานที่ 9 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้
มาจรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล
ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 มีความสามารถในการคิดรวบยอด
มาตรฐานที่ 11 มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 11.1 เล่น /
ทำงานศิลปะตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 11.2 แสดงท่าทาง /
เคลื่อนไหวตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
มาตรฐานที่ 12 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 12.1 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 12.2
มีความสามารถในการแสวงหาความรู้
|
Web เชื่อมโยงหน่วย “ หนูทำได้ ” กับพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
ด้านร่างกาย
|
|||
กล้ามเนื้อมัดเล็ก
- ขีดเขียน วาดภาพ -
ร้อยลูกปัด
- ระบายสีไม้ สีเทียนฝนสี - เล่นทรายเปียก / แห้ง - ปั้นดินน้ำมัน ปั้นแป้งโดว์ - ฉีก ปะ ตัด ติด
- ขยำกระดาษ
- ตัดกระดาษตามเส้น
-
พับกระดาษ
-
ต่อเติมภาพตามจินตนาการ
-
ประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติ/ วัสดุเหลือใช้
-
ประกอบอาหาร
-
เล่นกับสีน้ำ เช่น เป่าสี พับสี ฉีดสี
กลิ้งสี พิมพ์สีฯลฯ
|
กล้ามเนื้อมัดใหญ่
- เล่นเครื่องเล่นสนาม
- เล่นกีฬา
เกมการละเล่น เช่น การโยน-รับลูกบอล กลิ้งบอล การเดาะลูกบอล
- การเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น
เคลื่อนไหวประกอบเพลง
ประกอบคำบรรยาย เป็นต้น
- กระโดดขาเดียว กระโดดสองขาก้าวกระโดด
- การประดิษฐ์ชิ้นงาน หรือการทดลอง
- การเดิน
การวิ่ง การกระโดดคลาน
- การดึง
การดัน การจับ การขว้าง
การเตะเคาะจังหวะ ตบมือ ผงกศีรษะ ขยิบตา
- การเลียนแบบท่าทางสัตว์ต่างๆ เช่น เสียง
ลักษณะอาการ
|
ความสัมพันธ์มือ-ตา
- การขีดเขียน การวาดตามแบบ
- การร้อยลูกปัด ร้อยมาลัยดอกไม้
- การต่อบล็อกต่อเลโก้
- การระบายสีไม้ สีน้ำ
- การตัดกระดาษ
- การหยิบจับสิ่งของ
- การเล่นเกม
กีฬา เช่น การรับ-การโยน
- การช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวัน เช่น การรับประทานอาหาร การแต่งกาย
การสวมใส่เสื้อผ้ารองเท้า
ถุงเท้า เป็นต้น
- การเล่นเครื่องเล่นสัมผัส
|
|
ด้านอารมณ์-จิตใจ, ด้านสังคม
- การร้องเพลง
การท่องคำคล้องจอง
การทำท่าทางประกอบตามจังหวะดนตรี /คำบรรยาย
- การฟังนิทาน
การเล่านิทานการแต่งประโยค การพูดถ่ายทอดเรื่องราว
- การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ เช่น เล่นกับเพื่อน เล่นกับครู
เล่นเครื่องเล่น เช่น กระบอกไม้ไผ่ เครื่องเคาะจังหวะ เครื่องตี ฯลฯ
- การเล่นมุมบล็อกการเล่นมุมบทบาทสมมติ การเก็บของเล่น
- การแบ่งปัน
การรอคอยตามลำดับก่อน หลัง
- การบอกความรู้สึก ความต้องการการรับรู้อารมณ์
ความรู้สึกของผู้อื่น
- การช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันเช่น
การรับประทานอาหาร การแต่งกาย การสวมใส่เสื้อผ้ารองเท้า ถุงเท้า การอาบน้ำ แปรงฟัน เป็นต้น
- การรู้บทบาทหน้าที่
- การเป็นผู้นำ – ผู้ตามที่ดี
การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ฯลฯ
|
ด้านสติปัญญา
- การรับรู้และเรียนรู้สิ่งต่างๆ
รอบตัวเช่น ฤดูกาล กลางวัน กลางคืน ธรรมชาติ
- การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการเคลื่อนไหวและการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว
- การใช้ภาษาสื่อความหมาย และความคิดเช่น การพูด แสดงท่าทางประกอบ
- การรู้จักสังเกตคุณลักษณะต่างๆ เช่น สี
ขนาด รูปร่าง รูปทรง น้ำหนัก กลิ่น แบบรูปความสัมพันธ์ การจำแนก
การจัดกลุ่ม การเปรียบเทียบ เรียงลำดับฯลฯ
- การจดจำชื่อ รูปร่างลักษณะ ความเหมือน
ความแตกต่างของสิ่งต่างๆ รอบตัว
- การฝึกใช้อวัยวะรับสัมผัสต่างๆ ได้แก่
ตาดู หูฟัง จมูกดมกลิ่น
ลิ้นชิมรส และกายสัมผัส
- การสนทนาถาม-ตอบจากสิ่งที่ได้ฟัง ได้ดูและปฏิบัติ
เช่น นิทาน เรื่องเล่า ดูคลิปวีดีโอ เพลง คำคล้องจอง เกมการศึกษา ฯลฯ
- การอธิบายให้เหตุผล การแก้ปัญหา
การนำเสนอสิ่งที่ทำหรือคิด
- การสื่อความหมายของมิติสัมพันธ์
เช่น ภาพวาด ภาพถ่ายฯลฯ
- การทดลอง เช่น การตั้งคำถาม การสังเกต
การให้เหตุผล การสรุป ฯลฯ
|
Web เชื่อมโยงหน่วย
“หนูทำได้”
กับพัฒนาการสาระพื้นฐาน
ภาษาไทย
|
คณิตศาสตร์
|
ภาษาอังกฤษ
|
วิทยาศาสตร์
|
การฟัง
- ฟังนิทาน
- ฟังเพลงและเคลื่อนไหวทำท่าทางประกอบ
- ฟังและปฏิบัติตามคำสั่ง/ข้อตกลง
- ฟังและตอบคำถาม
- การเป็นผู้ฟังที่ดี
- การฟังและจำแนกเสียง เช่น
เสียงสัตว์
การพูด
- บอกความต้องการ/ความรู้สึก
- สนทนาถาม-ตอบ
- อธิบายสิ่งที่เข้าใจ
- ร้องเพลง
คำคล้องจอง
- แนะนำ/บอกชื่อของสิ่งต่างๆ
- เล่าหรือถ่ายทอดเรื่องราว
เหตุการณ์ที่ได้ฟัง ได้เห็น หรือประสบจริง
- แต่งประโยคจำคำ / ภาพ
- เล่าเรื่องตามภาพ
การอ่าน
- อ่านตามภาพ
- อ่านท่าที
ท่าทาง สีหน้า ลักษณะต่างๆ
- การอ่านคำตามภาพ / สัญลักษณ์
- อ่านตามตัวอย่าง
- การสะกดคำง่ายๆ เช่น
แม่ ก กา
การเขียน
- เขียนตามตัวอย่าง
- เขียนตามจินตนาการ
- การเขียนชื่อตนเอง ฯลฯ
|
การสังเกต การจำแนก
การเปรียบเทียบ
- การจำแนกความเหมือนความต่าง มากกว่า น้อยกว่า
เท่ากับ
- การจัดหมวดหมู่เช่น รูปร่าง รูปทรง ขนาด สี
น้ำหนัก
- การเรียงลำดับสิ่งต่างๆ
ด้านตัวเลขและจำนวน
- การนับจำนวนลำดับจำนวน สัญลักษณ์แทนจำนวน
- การรู้ค่าจำนวน
- การดำเนินการเกี่ยวกับจำนวน
ด้านมิติสัมพันธ์
- เข้าใจตำแหน่งที่สัมพันธ์กัน
- เข้าใจระยะเช่น ใกล้ ไกล ตรงข้าม ระหว่าง
- การเข้าใจทิศทางเช่น ซ้าย ขวา หน้า หลัง
- การต่อชิ้นส่วนภาพ
ทักษะทางด้านเวลา
- การเปรียบเทียบในเรื่องเวลา
- การลำดับเหตุการณ์ที่สัมพันธ์กัน
- ฤดูกาล
ทักษะการคิด
- การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
- การคิดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
- ความคิดสร้างสรรค์
- การคิดแก้ปัญหา
ทักษะการใช้ภาษา / การสื่อสาร
- การฟัง
- การพูด
- การอ่าน
- การเขียน
|
การฟัง
- ฟังคำสั่งเข้าใจ ปฏิบัติตามได้ เช่น
Sit down , Stan up เป็นต้น
- ฟัง
เข้าใจความหมาย
สนทนาโต้ตอบได้ เช่น What you
name ? My name is……..
What is this ? It’s a…….
What do like ?
I like ……………
- ร้องเพลง
เข้าใจความหมาย
การพูด
- พูดสนทนาโต้ตอบ
- บอกคำศัพท์เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว เช่น
เกี่ยวกับอวัยวะ
เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช้
เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต / ไม่มีชีวิต
ฯลฯ
การอ่าน
- อ่านคำศัพท์จากภาพ
- อ่านตามตัวอย่าง
- อ่าน A-Z
การเขียน
- เขียน
A-Z
- เขียนชื่อตัวเอง
- เขียนคำตามตัวอย่าง
|
ทักษะการสังเกต
-ใช้ประสาทสัมผัส ทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้ม กายสัมผัส
- เปรียบเทียบความเหมือนความต่างของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
- เรียงลำดับเหตุการณ์ก่อนหลังของสิ่งต่างๆ
- จัดกลุ่มได้ตามเกณฑ์ง่ายๆ
ที่กำหนดขึ้นเองเช่น สี รูปร่าง รูปทรง ขนาด น้ำหนัก
ทักษะการตั้งคำถาม
ตั้งคำถามจากสิ่งที่สังเกตหรือสงสัยได้อย่างสมเหตุสมผล
ทักษะการคาดเดาเหตุการณ์
คาดเดาคำตอบและคาดเดาได้อย่างสมเหตุผล
มีความเป็นไปได้ ตามลำดับขั้นตอน
ทักษะการทดลอง
-เลือกใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์อย่างง่ายได้อย่างเหมาะสม
-ทดลองตามลำดับขั้นตอน
ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
ทักษะเก็บข้อมูล
วาดภาพสรุปขั้นตอนการทดลองตามความเข้าใจของตนเองและอธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจ
ทักษะการสรุปผล
-พูดสนทนาโต้ตอบ/ นำเสนอผ่านภาพเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ตารางวิเคราะห์เชื่อมโยงหน่วยสาระที่ควรเรียนรู้
ตัวเรา
รู้จักชื่อ นามสกุล
รูปร่าง หน้าตา รู้จักอวัยวะต่างๆ
วิธีระวังรักษาร่างกายให้สะอาด
ปลอดภัย
การรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
เรียนรู้ที่จะเล่นและทำสิ่งต่างๆ ด้วยตนเองคนเดียว หรือกับผู้อื่น ตลอดจนเรียนรู้ที่จะแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก
และมารยาทที่ดี
หน่วยสาระ
1. หน่วยร่างกาย
2. หน่วยเด็กดี
3. หน่วยประสาทสัมผัสทั้ง
5
4. หน่วยเนื้อ นม
ไข่
5. หน่วยอาหาร
|
บุคคล และสถานที่
เด็กควรมีโอกาสได้รู้จักและรับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน
รวมทั้งบุคคลต่างๆ
ที่เด็กต้องเกี่ยวข้องหรือมีโอกาสได้ใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจำวัน
หน่วยสาระ
1. หน่วยครอบครัว
2. หน่วยโรงเรียน
3. หน่วยชุมชน
4. หน่วยบุคคลสำคัญ
5. หน่วยเมืองไทย
6. หน่วยวันสำคัญ เช่น
วันพ่อ วันแม่ วันครู
วันเด็ก ฯลฯ
|
ธรรมชาติรอบตัว
เด็กควรได้เรียนรู้สิ่งมีชีวิต สิ่งไม่มีชีวิต
รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของโลกที่แวดล้อมเด็กตามธรรมชาติ เช่น
ฤดูกาล กลางวัน กลางคืน
ฯลฯ
หน่วยสาระ
1. หน่วยสัตว์
2. หน่วยผีเสื้อ
3. หน่วยน้ำ
4. หน่วยพืช ผัก
ผลไม้
5. หน่วยดอกไม้
6. หน่วยอากาศ
7. หน่วยกลางวัน กลางคืน
8. หน่วยโลกสวยด้วยมือเรา
9. หน่วยฤดูกาล
10. หน่วยตาวิเศษ
|
สิ่งต่างๆ รอบตัว
เด็กควรได้รู้จักสี ขนาด
รูปร่าง รูปทรง น้ำหนัก
ผิวสัมผัสของสิ่งต่างๆ รอบตัว
สิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ และการสื่อสารต่างๆ ที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน
หน่วยสาระ
1. หน่วยการคมนาคม
2. หน่วยการสื่อสาร
3. หน่วยพลังงาน
4. หน่วยวิทยาศาสตร์
5. หน่วยคณิตศาสตร์
6. หน่วยเครื่องมือเครื่องจักร
7. หน่วยปลอดภัยไว้ก่อน
8. หน่วยของเล่น ของใช้
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น